Project 1 ...

-------------------------------------------------------------------------------------

Josef Muller Brockmann : The Swiss Pioneer

Image Hosted by ImageShack.us


ประวัติ และผลงาน...


ประวัติเกิดที่สวิสแลนด์เมื่อปี 1914 ในช่วงปี 1930s สวิสเซอร์แลนด์เป็นผู้นำในการออกแบบ โดยนิยมใช้ภาพถ่ายซึ่ง เป็นที่รู้จักไม่นานหลังยุค 1920s จึงทำให้ Swiss Graphic Style รุ่งเรืองมากใน Basle และ Zurich โดย Brockmann เป็นผู้ร่วมก่อตั้ง Zurich Group ร่วมกับ Camille Graeser,Rishard Paul Lehse และ Hans NeubergThe International Typographic Style- ตันกำเนิดจาก constructive from Swiss ( บางส่วนของ German ) โดยมีอิทธิพลยาวนาน จนถึงปี 1990 โดยเป็นการเติบโตบนรากฐานของ Bauhaus’ Modernism-Constructivism และ De Stijl มี Krnst Keller เป็นคนบุกเบิกงานแนวนี้ ในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2

- งานจะเน้นตัวอักษร ทั้ง Headline Subheadline และ text มักใช้อักษร san serif ซึ่งฟอนท์ที่นิยมคือ Nue Hass Grotesk ต่อมาได้พัฒนาเป็น Helvetica

- ใช้ grid เป็นพื้นฐานคำนวณทางคณิตศาสตร์ในการจัดองค์ประกอบ

- Max Bill เคยเรียนที่ Bauhaus ต่อมาไปเรียน swiss งานจะมีการคำนวณ โดยสนใจงานด้าน graphic มีกฎ semiotics คือ

§ Semantic ศึกษาความหมายของ sign & symbol

§ Syntactic ศึกษาความสัมพันธ์ sign & symbol ที่ต่อเนื่องกันในภาพรวม

§ Pragmatic ศึกษาความสัมพันธ์ sign & symbol ของผู้ใช้

- งานจะเน้น positive / negative space งานจะจัดกระดาษไปด้านซ้าย งานจะดูเรียบง่าย

- Hermann Zapf เป็นชาวเยอรมันที่ให้กำเนิด font palatino โดยพัฒนามาจาก roman style

- Armin Hofmann ผสมความรู้ความเข้าใจ ในเรื่อง form+romantic style โดยจะใช้ เส้น จุด เป็นองค์ประกอบสำคัญ

- Josef Muller Brockman มีอิทธิพลต่อนักออกแบบจนปัจจุบันโดยเฉพาะในยุโรป ทางฮอลแลนด์ เยอรมัน และสวิสแลนด์

1. เน้นประโยชน์ใช้สอย ชัดเจน อ่านง่าย

2. มีการใช้โครงสร้างของ grid

3. เน้นความสมดุล

4. ใช้ photo copy มาทำให้เกิด typography แบบใหม่ๆ

5. มีการใช้ high contrastมีการใช้ semiotics

---------------------------------------------------------

Grid System & Semiotics


การจัดองค์ประกอบแบบ golden mean - Composition การจัดองค์ประกอบยอดฮิตวิธีหนึ่งที่ตำราทั้งหลายแนะนำ ก็คือ การใช้จุดตัดเก้าช่อง (rule of third) ก็คือ การแบ่งภาพออกเป็น 3 ส่วน ทั้งแนวตั้งและแนวนอน แล้ววางภาพตรงจุดตัดนั้นจริงๆ ก็คือ จะเป็นวางภาพในสัดส่วนสองจากสาม (2:3) จริง ๆ แล้ว rule of third นั้นก็เอามาจาก golden mean นั่นเองgolden mean คือ สัดส่วน (ratio) 1:1.6180339.. (ซึ่งเป็นตัวเลขมหัศจรรย์ ที่ถูกค้นพบมาตั้งแต่สมัยก่อน)และทุกวันนี้ถูกใช้ในทุก ๆ สิ่งรอบตัวเราโดยที่เราอาจไม่รู้ตัว เป็นอะไรที่สมองของมนุษย์ตอบสนองดีเป็นพิเศษ อย่างเช่น มีการทดลองพบว่า รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าที่คนชอบมากที่สุดเป็นสัดส่วน 1:1.618

1.618 มาจากไหน? จากอนุกรม Fibonacci ( S[n] = S[n-1] + S[n-2] )0,1,1,2,3,5,8,13,21,34,55,89,...เอา 3/2 = 1.55/3 = 1.667..55/34 = 1.617689/55 = 1.6182จากนั้น ค่าจะลู่เข้า ค่า ๆ หนึ่ง เรียกว่า Phi = 1.6180339... (เป็นอีกค่าคงที่ เหมือนค่า Pi และ e ที่เรารู้จัก)จะเห็นว่า 3:2 ก็อยู่ในอนุกรม Fibonacci เหมือนกันพอรู้จักค่า Phi แล้ว.. มาลองแบ่งตารางกันบ้างดีกว่า..จากรูป ขนาดสี่เหลี่ยมสีน้ำเงิน จะมีขนาดเท่ากับ 1:1.618 ของสี่เหลี่ยมใหญ่

Golden Section VS Rule of Thirdลองเทียบ 1.618:1 กับ 3:2 ใช้หลักการแบ่งเป็นสัดส่วนสี่เหลี่ยมคล้ายก็จะเป็นการเปลี่ยน

golden section เป็น rule of thirdGolden Spiral โดยแบ่งภาพทีละ 1:1.618 ของด้านยาว แล้วลากจุดตัด เป็นเส้นโค้งมาเป็น Golden Triangle แบ่งเป็นสามเหลี่ยมคล้ายเท่าๆ กัน 3 อัน(สี่เหลี่ยมเป็น 3:2 ก็ใช้ Golden Triangle แบบ 3:2 ก็ถือว่าใกล้เคียง)

--------------------------------------------------------

SEMIOTIC...

---------------------------------------------------

...link...

ประวัติ และผลงาน...

http://www.google.co.th/
http://www.filterfine.com/resources/jmb/bio.htm
http://www.artandculture.com/cgi-bin/WebObjects/ACLive.woa/wa/artist?id=188
http://www.imagenow.ie/gallery/flash.htm
http://www.internationalposter.com/adetail.cfm?ArtistNumber=450


สัมภาษณ์...

http://www.eyemagazine.com/feature.php?id=51&fid=163


ประวัติศาสตร์ศิลป์...

http://witcombe.sbc.edu/ARTH20thcentury.html#Later20century
http://www.artlex.com/
http://www.internationalposter.com/IntTypoStyle_Text.htm


SEMIOTIC...

http://www.code.uni-wuppertal.de/uk/computational_design/who/nadin/publications/articles_in_books/Design%20and%20Semiotics.htm
http://www.boxesandarrows.com/view/semiotics_a_primer_for_designers
http://www.markboulton.co.uk/journal/comments/icons_symbols_and_a_semiotic_web
http://www.markboulton.co.uk/journal/comments/some_thoughts_about_signs



No comments: